ปลายเดือนที่แล้ว เราได้ไปงานประชุม PyCon Taiwan 2024 ตัวงานนั้นมีจัดทั้ง Presentation กับ Workshop โดยหนึ่งใน Workshop ที่เราเข้าร่วมนั่นก็คือ All about decorators
Tag: โค้ดดิ้ง
ปกติการดึงข่าวล่าสุด อันนี้เราใช้ RSS (Really Simple Syndication) หรือ Feedly ได้เลย อย่างไรก็ดี ไม่ใช่ทุกเว็บไซต์ที่จะรองรับวิธีนี้ได้ อาจจะเป็นเพราะทางนั้นไม่ได้ให้ลิ้งค์สำหรับ RSS ไว้ครับ
เมื่อเจอปัญหานี้แล้ว ในบทความนี้เราแนะนำวิธีหนึ่งที่คนใช้กัน วิธีนี้เรียกว่า Web Scraping
วันก่อนที่รัฐบาลเพื่อไทยประกาศถึง Digital Wallet ที่จะแจกจ่ายด้วยจำนวนเงิน 10,000 บาทให้แก่ประชาชนผ่านระบบ Blockchain
พอเราฟังแล้ว เราเลยค้นหาข้อมูล (รวมถึงจากเปเปอร์) เรื่องที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ Blockchain และเหรียญสกุลเงินดิจิทัล CBDC (Central Bank Digital Currency) แล้วได้รายละเอียดแบบคร่าว ๆ ตามด้านล่างนี้
ส่วนหนึ่งของงานทางด้าน Programming กับงานทางด้าน Data และอื่น ๆ คือการทำเอกสาร ส่วนใหญ่ที่เราทำงานทางด้านเอกสารที่เราใช้กันก็เป็นโปรแกรมแบบ Microsoft Word อะไรแนวนี้ ทีนี้ถ้าเราอยากได้โปรแกรมที่มันไม่ซับซ้อน ใช้งานไม่ยาก แถมหน้าจอยังคลีนอีก อันนี้เราจะใช้แอพอะไร
จากที่เราใช้ แอพหนึ่งที่เหมาะสมกับงานนี้คือ iA Writer
The English version is available on Medium.
หลังจากที่เขียนในบทความก่อนหน้าถึงโครงสร้างข้อมูลแบบ Graph และ เทคนิคการเดินทางใน Graph (Graph Traversal) เพื่อหาเส้นทาง Shortest Path โดย Dijkstra’s กับ Bellman-Ford’s Algorithms แล้ว
ในบทความนี้เราจะมาแนะนำเทคนิคอีกเทคนิคหนึ่งที่มีชื่อว่า A* (อ่านว่าเอ-สตาร์) Search Algorithm
The English version is available here.
#20 – Graph และ Shortest Path Algorithms
เทคนิคการหาเส้นทางที่สั้นที่สุด (Shortest Path Algorithms) เป็นวิธีการหาเส้นเชื่อมระหว่างโหนดเริ่มต้น และโหนดสิ้นสุดในกราฟที่ให้ผลรวมของค่าน้ำหนักของเส้น (Edge Weight) ที่ต่ำที่สุด
For English, please follow this article on Medium.
The English version of this blog related to the first part: Big-O notation, is available here.
เมื่อวันก่อนเข้าไปอ่านในหน้าเว็บ Medium ที่กล่าวถึง Data Structures & Algorithms (ย่อเป็น DSA) ที่จำเป็นสำหรับทาง Data Engineer ว่าต้องรู้เทคนิคไหนบ้าง แถมตอนเรียนในคอร์สจากเว็บ DataTH (รวมถึงที่อื่น) ก็มีกล่าวถึงไว้นิดหน่อยว่าจำเป็นต้องรู้เรื่องนี้ต่อยอดจากที่เรียนในคอร์ส
เราเลยสังเกตตอนที่เขียนโค้ดแล้วพบว่าโค้ดมันก็รันได้ แต่ประสิทธิภาพมันก็ไม่ได้ดีอะไรขนาดนั้น การมีความรู้ทางด้าน DSA ก็นำไปใช้ช่วยเขียนโค้ดให้ทำงานได้มีประสิทธิภาพมากกว่าเดิม โดยในบทความนี้ก็สรุป และแชร์เรื่องนี้ครับ
ช่วงสองสามสัปดาห์ที่ผ่านมาเราได้เข้าไปดู Special Classes เรื่อง Intro to Databricks ในคอร์ส Road to Data Engineer 2.0 ของ DataTH School จากนั้นเราเลยทดลองทำโปรเจคด้วย Databricks และแชร์ลงบทความนี้
แต่ก่อนอื่น เราไม่เสียเวลาเกริ่นนาน เรามาเริ่มพูดถึง Databricks กันก่อนดีกว่าครับ
The English version is available here.
ER Diagram (Entity Relation Diagram) คือแบบจำลองที่ใช้อธิบายโครงสร้างของ Database ที่ออกมาเป็นรูปภาพ เพื่ออธิบายโครงสร้างและความสัมพันธ์ของข้อมูล ประกอบไปด้วย 2 ส่วน ได้แก่ Entity และ Relationship.
ต่อมาโปรเจคก่อนหน้าที่ทำ Data Pipeline ที่ดึงข้อมูลไฟล์ Excel จากเว็บไซต์ของกระทรวงอว. (กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม) คราวนี้เรามาทำอีกโปรเจคหนึ่งที่สร้าง Data Pipeline มาดึงข้อมูลจากฐานข้อมูล (Database) เพื่อนำมาทำ Dashboard