Nitter คือเครื่องมือสำหรับทำเว็บเซิร์ฟเวอร์ที่อนุญาตให้ผู้ใช้สามารถเข้าไปดูทวิตใน Twitter (หรือ X) ที่เน้นเรื่องความเป็นส่วนตัว และประสิทธิภาพของการใช้งานเว็บไซต์ โดยโครงการนี้ได้รับแรงบันดาลใจจากโครงการ Invidious
Tag: website
ข้อสังเกตเว็บจอง Vaccine VIP เว็บหนึ่ง
ปกติระบบการจองวัคซีนของไทย ที่ให้จองซิโนแวค หรือแอสตร้าเซเนกา เดิมจะจองผ่านระบบหมอพร้อม แต่หลังจากนั้นมีการเปลี่ยนแปลงระบบไปเป็นไทยร่วมใจ กำแพงเมือง และอื่น ๆ เป็นต้น ซึ่งก็ดูสับสนเพราะพอจองไปแล้วก็มีเทเป็นระยะ
แล้วต่อมาก็มีจองวัคซีนทางเลือกตัวอื่นเพิ่มมากขึ้น ได้แก่ วัคซีนซิโนฟาร์ม วัคซีนโมเดิร์นนา วัคซีนไฟเซอร์ และอื่น ๆ เป็นต้น อย่างไรก็ดี วัคซีน mRNA ยังเข้ามาไม่ถึง (หรือว่าถึงแล้ว) ก็มีหน้าเว็บไซต์ที่ระบุว่าจองวัคซีนแบบ VIP ได้ที่มีชื่อว่า thvaccine.com
ปกติเวลาที่ใช้งานเว็บโซเชียลอย่างเฟสบุ๊ค ทวิตเตอร์ ไอจี ยูทูป หรืออื่น ๆ เราจะมาแฟนเพจ หรือบุคคลที่ติดตามในนั้นที่เราจะอ่านคอนเท้นต์อยู่ตลอด แต่ทีนี้ถ้าเราไม่มีสมาชิกใช้งานก็จะไม่สามารถติดตามคอนเท้นต์เหล่านั้นได้ อย่างไรก็ดีมีสิ่งหนึ่งที่เราไม่จำเป็นต้องสมัครสมาชิก เพียงแค่มีโปรแกรมสำหรับอ่านบทความเหล่านั้นได้คือ RSS (Really Simple Syndication)
RSS (Really Simple Syndication) คือเว็บฟีตชนิดหนึ่งที่จะแปลงให้อยู่ในรูปฟอร์แมตทีคอมพิวเตอร์เข้าใจอย่าง XML ใช้สำหรับการกระจายข้อมูลที่มีการอัพเดทบ่อยอย่างเช่นเว็บไซต์ และบล็อก เครื่องมือนี้ทำให้เราแบ่งปันเนื้อหาจากเว็บหนึ่งไปติดในหน้าเว็บของเรา หรือดึงบทความที่ปรากฏบนเว็บไซต์เข้าไปในโปรแกรมที่เราใช้งานอยู่ในขณะนี้ได้สะดวก โดยโปรแกรมเหล่านี้เรียกว่า RSS Reader
ตอนทำธิสิสทางอาจารย์จะให้ทำเป็นตัวโปรแกรมเพื่อให้ใช้งานกับคอมพิวเตอร์แทนที่จะใช้อุปกรณ์ไม้บรรทัดวัดมุมการเคลื่อนไหวของศีรษะและลำคอ หรือเรียกอีกอย่างว่า Goniometer เพราะเครื่องมือนั้นขึ้นกับผู้วัดแต่ละคน ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนระหว่างการวัดได้ เลยเป็นสาเหตุที่เราจะพัฒนาตัวโปรแกรมกัน
ตอนพัฒนาตัวเว็บที่จะใช้ในงานวิจัย (ธีสิสนะแหละ) เดิมใช้ภาษา HTML, CSS และ JS ที่ใช้เครื่องมือ Bootstrap ร่วมกันกับ jQuery ในตอนนั้นเขียนเสร็จแล้ว ตัวเว็บทำงานได้ตามปกติเพียงแต่เกิดปัญหาเมื่อโปรแกรมที่มีขนาดใหญ่มากขึ้นเนื่องจาก
- โค้ดที่มีความซับซ้อนส่งผลต่อประสิทธิภาพในการทำงาน
- การแก้ไขตัวโต้ดเวลาเกิดบั้กทำได้ยาก เกิดปัญหาเวลาติดบั้กแล้วต้องไล่อ่านโค้ดที่เอ่อ งงไปหน่อย
- เพิ่มเครื่องมือ (Library) ได้ลำบาก
โดยจากบทความที่แล้วที่พูดถึงการใช้เทคนิคการจับภาพใบหน้าที่เขียนโดย Tensorflow.js กับ ONNX.js ที่ใช้ตัวจาวาสคริปธรรมดาแล้วเวลาเขียนไปเรื่อย ๆ ก็เริ่มงงและ