Categories
Computer Data

#26 – วิธีสมัครบัญชีคอมมู Developer/Data/AI จีนอย่าง CSDN

CSDN (ที่ย่อมาจาก Chinese Software Developer Network หรือ China Software Developer Network) เป็น Community สำหรับนักพัฒนาซอฟต์แวร์ กับคนที่ทำงานทางด้าน Data และ AI ที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศจีน

Categories
Computer

#12 – รู้จัก Apple MLX และเขียนโค้ด Linear Regression

Apple MLX เป็นไลบรารีสำหรับงานทางด้าน Machine Learning ที่พัฒนาโดยทีมงาน Apple Machine Learning Research ที่ออกแบบมาเพื่อ Apple Silicon (ชิปแบบ M2, M3) โดยเฉพาะ โดยไลบรารีนี้มีฟีเจอร์ที่เด่น ๆ ได้แก่

Categories
Computer

#11 – Linear Regression แบบเขียนมือ

Linear regression เป็นความสัมพันธ์แบบเชิงเส้นระหว่างค่าที่เราต้องการทำนาย กับตัวแปรที่เรานำมาใช้ในการคำนวณ เทคนิคนี้เป็นเทคนิคที่ใช้มานานแล้ว กับเป็นเทคนิคที่เป็นโมเดลทางคณิตศาสตร์ที่เข้าใจง่าย ร่วมกับใช้งานได้หลากหลาย ตั้งแต่การศึกษา ไปจนถึงธุรกิจต่าง ๆ

Categories
Computer Data

วิธีเทรน Segmentation โดย mmSegmentation

ปกติเวลาที่เราต้องการแยกวัตถุออกจากวัตถุหนึ่งโดยตาของคน อันนี้ทำได้ไม่ยาก เพราะเราแยกออกจากกันได้ง่ายอยู่แล้ว แต่จะให้คอมพิวเตอร์แยกวัตถุแต่ละอย่างออกจากภาพได้ อันนี้เราจำเป็นต้องให้คอมพิวเตอร์เรียนรู้เสียก่อน

โดยเรื่องนี้อยู่ในหัวข้อ AI (Artificial Intelligence) อย่าง Computer Vision ที่อยู่ในเรื่องของ Semantic Segmentation

Categories
Computer Data

รันโค้ด Jupyter โดยไม่ต้องเปิดหน้าเว็บเบราวเซอร์ทิ้งไว้

Jupyter Notebook เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เรารันตัว Python Notebook ได้ ซึ่งตัวนี้เหมาะกับการเขียนโค้ดเพื่อคำนวณทางด้านวิทยาศาสตร์ หรือทำงานด้าน Data Science และอื่น ๆ เป็นต้น ซึ่งเราจะพบการใช้งานตัว Jupyter Notebook ได้บ่อย ๆ ใน Google Colab

อย่างไรก็ดี การใช้งานตัว Google Colab พบปัญหา เนื่องมาจากตัวฟรี หรือตัวโปรรุ่นล่าง ๆ จะเปิดให้รันบนเบื้องหลังได้ไม่นาน หลังจากนั้นตัวระบบจะตัดไป เพื่อนำทรัพยากรที่มีจำกัดให้กับบุคคลอื่นแทน ดังนั้นแล้วการใช้งาน Jupyter Notebook บนคอมพิวเตอร์ของเรา หรือบนเซิร์ฟเวอร์ของเราเองจะเป็นทางเลือกที่ดีกว่า

Categories
Computer Data

เทคนิคการนำโมเดล Tensorflow มารันบน Node.js โดยไม่ต้องใช้ tfjs-converter

ปกติเวลาเรามีข้อมูลที่ได้รับการเทรนเรียบร้อยแล้วทดสอบแล้วได้ผลที่แม่นยำตามที่เราต้องการ จากนั้นเรานำโมเดลที่ผ่านการเทรน และทดสอบแล้วมารันในโปรแกรมซึ่งส่วนใหญ่ก็จะเขียนในภาษาไพทอน แต่ทีนี้เราจะต้องดูปลายทางว่าเราจะนำข้อมูลที่เทรนมาทำงานบนเว็บเบราวเซอร์ มาไว้ในอุปกรณ์ IoT (Internet of Things) หรืออื่น ๆ

Categories
Computer Data

การติดตั้ง เขียนโค้ดเพื่อใช้งาน ONNX.js และข้อสังเกต

อัพเดท: ตัวไลบรารีได้รับการพัฒนาต่อแล้วครับ อ่านได้ในรายละเอียดหัวข้ออัพเดทด้านล่างของบทความครับ

การนำโมเดลที่ได้รับการเรียนรู้แล้วมาทำงานบนเว็บเบราว์เซอร์ไม่ได้เป็นเรื่องใหม่นัก เพราะบริษัทกูเกิ้ลพัฒนาไลบรารีชื่อ Tensorflow.js โดยเรานำโมเดลที่ได้รับการเรียนรู้แล้วมาทำนาย หรือเรียนรู้ข้อมูลใหม่บนเว็บไซต์ได้เลยโดยไม่จำเป็นต้องส่งข้อมูลไปทำนายบนเซิร์ฟเวอร์

Categories
Computer

Face Detection in my thesis

ตอนนี้ธีสิสที่ทำอยู่เกี่ยวกับการวัดการเคลื่อนไหวของศีรษะและลำคอในผู้ป่วยที่เป็นมะเร็งศีรษะและลำคอที่ผ่านการทำกายภาพบำบัดที่เดิมจะให้หมอวัดองศาการเคลื่อนไหวของศีรษะและลำคอ (Cervical range of motion) แต่ทีนี้ติดปัญหาเรื่องความแม่นยำ และความน่าเชื้อถือของการวัด (reliability & validity) เราจะทำเป็นตัวโปรแกรมเพื่อให้ประเมินการเคลื่อนไหวจาก webcam แทน แล้วทีนี้ขั้นแรกของเราจะต้องทำคือการใช้เทคนิคการจับภาพใบหน้า (Face detection)